มาตรฐานและการขอใบรับรองผักปลอดสาร
มาตรฐานและการขอใบรับรองผักปลอดสาร
ในปัจจุบันมีผักปลอดสารพิษออกมาจำหน่ายอย่างมากมาย โดยในท้องตลาดจะมีตราหรือสัญลักษณ์ที่บ่งบอกที่มาของผลิตภัณฑ์เพื่อให้ผู้บริโภคมั่นใจในสินค้าที่ซื้อไป ผักปลอดสารพิษที่จะกล่าวถึงนี้มีความหมายที่แตกต่างกับผักอินทรีย์ ซึ่งผมได้เขียนบทความบอกความหมายของแต่ละประเภทแล้ว ถ้าคุณยังไม่ทราบ ผมให้เวลาอ่าน 10 นาทีก่อนจะไปบรรทัดต่อไป เชิญครับ
บทความผักอนามัย ผักปลอดสาร และผักอินทรีย์แตกต่างกันอย่างไร
ถือว่าเพื่อน ๆ ทราบถึงข้อแตกต่างระหว่างผักปลอดสารและผักอินทรีย์แล้วนะครับ และต่อไปนี้คือมาตรฐานและขั้นตอนในการขอใบรับรองซึ่งได้กำหนดไว้ดังนี้
มาตรฐานและการขอใบรับรองภายในประเทศ
1.มาตรฐาน GAP (Good Agriculture Prac-tices)
กำหนดเป็นมาตรฐานสินค้าผักและผลไม้ไทยระดับฟาร์มหรือแปลงปลูก การตรวจระบบ GAP จากกรมวิชาการเกษตรโดยมีการกำหนดหลักปฏิบัติ ดังนี้
แหล่งน้ำต้องมาจากแหล่งสะอาด ไม่มีสิ่งเจือปน
ไม่มีสารปนเปื้อนในดินที่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนในผลผลิต
ในวัตถุอันตรายในการผลิตตามข้อบังคับของกรมวิชาการเกษตร
การเก็บรักษาและขนย้ายต้องมีโรงเรือนที่ได้มาตรฐาน
มีการบันทึกข้อมูลการใช้วัตถุอันตรายและป้องกันศัตรูพืช
ปลอดศัตรูพืชหลังเก็บเกี่ยว
มีการคัดแยกคุณภาพของผลผลิตออกอย่างชัดเจน
เครื่องไม้เครื่องมือในการเก็บเกี่ยวต้องสะอาดและปลอดสารปนเปื้อน
2.มาตรฐาน Q
มาตรฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่เห็นการให้ใช้เครื่องหมายรับรองให้เป็นแบบเดียวกัน ครอบคลุมไปที่ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ สินค้าพืช ปศุสัตว์ และประมง โดยมีการออกเครื่องหมายรับรองสินค้าและเครื่องหมายรับรองระบบ โดยมีจุดประสงค์ดังนี้
*เครื่องหมาย Q จะคลอบคลุมมาตฐานต่าง ๆ เช่น GAP ,GMP ,HACCP.CoC ,เกษตรอินทรีย์ เป็นต้น
*เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ คุณภาพสินค้าเกษตร และอาหารคุณภาพภายใต้เครื่องหมาย Q
*สร้างแรงจูงใจให้ผู้ผลิต ผลิตสินค้าภายใต้เครื่องหมาย Q และพัฒนาผู้ผลิตให้เข้าสู่ระบบมาตรฐานของกระทรวงมากขึ้น
คุณสมบัติของผู้ที่จะขอสินค้าเกษตรภายใต้เครื่องหมาย Q
*เป็นนิติบุคคลและมีความสนใจในการขอรับการตรวจรับรอง
*ให้ความร่วมมือคณะผู้ตรวจรับรอง
*ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของการตรวจรับรอง
*สถานที่จำหน่ายต้องมีสินค้าภายใต้เครื่องหมาย Q ทั้งการผลิตระดับฟาร์มและแปรรูป และมีสินค้าจำหน่ายอย่างสม่ำเสมอด้วย
อ้างอิง และเชิญคลิกเพื่ออ่านต่อได้ที่ http://www.organicfarmthailand.com/?p=1989
-
อาหารอินทรีย์ จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ผักอินทรีย์ที่ตลาดเกษตรกรในอาร์เจนตินา อาหารอินทรีย์(อังกฤษ:organic food) เป็นผลผลิตจากการทำไร่นาอินทรีย์ปัจจุบัน สหภาพยุโรป สหร...
-
เกษตรอินทรีย์ คือ ระบบการเกษตรที่ผลิตอาหารและเส้นใย ด้วยความยั่งยืนทั้ง ทางสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ โดยเน้นหลักที่การปรับปรุงบำรุงดิน การเคารพต่อศักยภาพ ทางธรรมชาติของพืช สัตว...
-
ถ้าหากย้อนความไปถึงยุคฟองสบู่แตกในปี 2540 มีภาคเกษตรของประเทศไทยภาคเดียวที่เป็นภาคธุรกิจและการค้า ไม่ประสบปัญหามากนัก นับเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้รัฐบาลและนักวิเคราะห์ มองว่าการเกษตรไท...
-
ปุ๋ยอินทรีย์ ทางเลือกการจัดการปัญหาขยะ •ขยะตกค้าง การเผาขยะในที่โล่ง การปนเปื้อนสิ่งแวดล้อม และ ผลกระทบต่อทัศนียภาพ คือปัญหา สําคัญด้านการจัดการขยะชุมชน และมลพิษจากของเสียชุมชน •กา...
-
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เร่งเดินหน้ายุทธศาสตร์ระบบบริการสุขภาพเขตเมือง ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๘ ประธานกรรมการสุขภาพแห่งชาติสั่งร่นเวลาจัดทำยุทธศาสตร์ฯ ต้องเสร็จภายใน ...
-
พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 ซึ่งได้รับการกล่าวขานว่าเป็นกฎหมายฉบับแรกของประเทศไทย ที่จัดทำด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมจากสังคมตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสมบูรณ์ โดยใช้ระยะเวลาถึง 8 ปีเต็มจ...
-
ช่องทางการตลาดของธุรกิจสีเขียว “ได้ผลผลิตมาแล้ว จะเอาไปขายใคร” เรื่อง : อาศิรา พนาราม เป็นเรื่องที่น่ายินดีว่าตอนนี้ทั่วทุกมุมโลกกำลังเริ่มจริงจังกับกระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เรา...
-
การตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมการเกษตร จัดทำโดยศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร เผยแพร่เมื่อ 12 พ.ค. 2016อีกหนึ่งองค์ความรู้ด้านระบบการแลกเปลี่ยนและ...
-
ธุรกิจนวัตกรรมเกษตรอินทรีย์โครงการนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร์ธุรกิจนวัตกรรมเกษตรอินทรีย์ (Organic Agriculture Business) “เกษตรอินทรีย์” เป็นระบบการผลิตที่ให้ความสำคัญกับความยั่งยืนของสุ...
-
บทคัดย่อ : การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัญหาในการพัฒนาตลาดเกษตรอินทรีย์ภายในประเทศไทย และศึกษาแนวทางการพัฒนาตลาดเกษตรอินทรีย์ภายในประเทศไทย เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การส...